วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557
สิ่งที่ได้จากการเข้าร่วมสัมมนา เรื่องผู้บริหารยุคใหม่ เข้าใจ ทันภัย กฎหมายไอที
ตอบ ได้รู้เกี่ยวกับกฎหมายเรื่องไอที ที่เราไม่เคยรู้มาก่อนหรือสิ่งที่เราคิดว่ามันเป็นแค่เรื่องเล็กๆเราทำไปเพื่อความสนุก แต่ในทางกฎหมายมันอาจจะเป็นเรื่องใหญ่จนต้องถูกดำเนินคดีก็ได้ ดังนั้นหากเราคิดจะโพสหรือกระทำเรื่องใด เราควรคิดไตร่ตรองให้ดีเสียก่อนเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาตามมาภายหลัง
IPv6 : Internet Protocol version 6
IPv6 คืออะไร
กลไกสำคัญในการทำงานของอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตโพรโตคอล (Internet อินเทอร์เน็ตส่วนประกอบสำคัญของอินเทอร์เน็ตโพรโตคอลได้แก่ หมายเลขอินเทอร์เน็ตแอดเดรส หรือ ไอพีแอดเดรส (IP address) ที่ใช้ในการอ้างอิงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆบนอินเทอร์เน็ตทั่วโลก เปรียบเสมือนการใช้งานโทรศัพท์ในการติดต่อสื่อสารกัน จะต้องมีเลขหมายเบอร์โทรศัพท์เพื่อให้อ้างอิงผู้รับสายได้ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตก็ต้องมีหมายเลข IP Address ที่ไม่ซ้ำกับใคร
หมายเลข IP address ที่เราใช้กันทุกวันนี้ คือ Internet Protocol version 4 (IPv4) ซึ่งเราใช้เป็นมาตรฐานในการส่งข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตั้งแต่ปีค.ศ. 1981 ทั้งนี้การขยายตัวของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในช่วงที่ผ่านมามีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว นักวิจัยเริ่มพบว่าจำนวนหมายเลข IP address ของ IPv4 กำลังจะถูกใช้หมดไป ไม่เพียงพอกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตในอนาคต และ
หากเกิดขึ้นก็หมายความว่าเราจะไม่สามารถเชื่อมต่อเครื่อข่ายเข้ากับระบบอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นคณะทำงาน IETF (The Internet Engineering Task Force) ซึ่งตระหนักถึงปัญหาสำคัญดังกล่าว จึงได้พัฒนาอินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นใหม่ขึ้น คือ รุ่นที่หก(Internet Protocol version 6; IPv6) เพื่อทดแทนอินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นเดิม โดยมีวัตถุประสงค์ IPv6 เพื่อปรับปรุงโครงสร้าง
ของตัวโพรโตคอล ให้รองรับหมายเลขแอดเดรสจำนวนมาก และปรับปรุงคุณลักษณะอื่นๆ อีกหลายประการ ทั้งในแง่ของประสิทธิภาพและความปลอดภัยรองรับระบบแอพพลิเคชั่น (application) ใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลแพ็กเก็ต (packet) ให้ดีขึ้น ทำให้สามารถตอบสนองต่อการขยายตัวและความต้องการใช้งานเทคโนโลยีบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใน
อนาคตได้เป็นอย่างดี
ทำไมจึงต้องเริ่มใช้ IPv6
ประโยชน์หลักของ IPv6 และเป็นเหตุผลสำคัญของการเริ่มใช้ IPv6 ได้แก่ จำนวน IP address ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากมายมหาศาลเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวน IP address เดิมภายใต้ IPv4 IPv4 address มี 32 บิต ในขณะที่ IPv6 address มี 128 บิต ความแตกต่างของจำนวน IP address มีมากถึง 296 เท่า
ความสำคัญของการมี IP address ที่ไม่ซ้ำกันและสามารถเห็นกันได้ทั่วโลก จะช่วยผลักดันการพัฒนา แอพพลิเคชั่นแบบ peer-to-peer ที่ต้องการ IP address จริงเป็นจำนวนมาก เช่นการทำ file sharing, instant messaging, และ online gaming แอพพลิเคชั่นเหล่านี้มีข้อจำกัดภายใต้ IPv4 address เนื่องจากผู้ใช้บางส่วนที่ได้รับจัดสรร IP address ผ่าน NAT (NetworkAddress
Translation) ไม่มี IP address จริง จึงไม่สามารถใช้แอพพลิเคชั่นเหล่านี้ได้
สำหรับองค์กรหรือบริษัทห้างร้านต่างๆ การมี IP address จริงอาจไม่ใช่ประเด็นสำคัญ อย่างไรก็ตามหน่วยงานเหล่านี้ควรมีความเข้าใจถึงข้อจำกัดของการใช้ NAT นั่นก็คือ การใช้ IP address ปลอม อาจทำให้เกิดความยุ่งยากในอนาคตหากต้องมีการรวมเครือข่ายสองเครือข่ายที่ใช้ IP address ปลอมทั้งคู่ อีกทั้ง การใช้ IP address ปลอม เป็นการปิดโอกาสที่จะใช้แอพพลิเคชั่นหรือบริการแบบ
peer-to-peer เช่น IPsec ในอนาคต
ความสำคัญของการมี IP address ที่ไม่ซ้ำกันและสามารถเห็นกันได้ทั่วโลก จะช่วยผลักดันการพัฒนา แอพพลิเคชั่นแบบ peer-to-peer ที่ต้องการ IP address จริงเป็นจำนวนมาก เช่นการทำ file sharing, instant messaging, และ online gaming แอพพลิเคชั่นเหล่านี้มีข้อจำกัดภายใต้ IPv4 address เนื่องจากผู้ใช้บางส่วนที่ได้รับจัดสรร IP address ผ่าน NAT (NetworkAddress
Translation) ไม่มี IP address จริง จึงไม่สามารถใช้แอพพลิเคชั่นเหล่านี้ได้
สำหรับองค์กรหรือบริษัทห้างร้านต่างๆ การมี IP address จริงอาจไม่ใช่ประเด็นสำคัญ อย่างไรก็ตามหน่วยงานเหล่านี้ควรมีความเข้าใจถึงข้อจำกัดของการใช้ NAT นั่นก็คือ การใช้ IP address ปลอม อาจทำให้เกิดความยุ่งยากในอนาคตหากต้องมีการรวมเครือข่ายสองเครือข่ายที่ใช้ IP address ปลอมทั้งคู่ อีกทั้ง การใช้ IP address ปลอม เป็นการปิดโอกาสที่จะใช้แอพพลิเคชั่นหรือบริการแบบ
peer-to-peer เช่น IPsec ในอนาคต
วันศุกร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2557
มาตรฐานของ Wireless LAN (แลนไร้สาย)
แลนไร้สาย หรือ ไวเลสแลน (Wireless LAN, WLAN) คือระบบที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเข้าด้วยกัน เป็นเครือข่ายภายในพื้นที่แบบไร้สาย โดยใช้คลื่นความถี่วิทยุในการเชื่อมต่อหรือสื่อสารกัน การเชื่อมต่อแลนไร้สายมีทั้งแบบเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันและเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point)
ระบบเครือข่าย Wireless LAN ตามมาตรฐาน IEEE 802.11
สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ (Institute of Electrical and Electronic Engineers) ได้กำหนดมาตรฐานแรกของระบบเครือข่ายไร้สาย โดยใช้ชื่อ IEEE802.11 แล้วมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและขยายออกไปเป็นมาตรฐานต่าง ๆ ดังนี้
1. มาตรฐาน IEEE 802.11b เป็นมาตรฐานเครือข่ายของระบบ Wireless LAN ที่ใช้ความถี่ย่าน 2.4 GHz ซึ่งเป็นความถี่เสรีที่เปิดให้ใช้โดยทั่วไป ทั้งนี้จะมีกลไกการส่งสัญญาณเป็นแบบ DSSS โดยความเร็วในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่ 4 ระดับคือตั้งแต่ 1Mbps, 2 Mbps, 5.5 Mbps และสูงสุดที่ 11 Mbps ระยะการใช้งานไกลสุดอยู่ที่ 100 เมตรคลิ๊กแหล่งที่มา
2. มาตรฐาน IEEE 802.11g เป็นมาตรฐานเครือข่ายของระบบ Wireless LAN ที่ใช้ความถี่ย่าน 2.4 GHz มีกลไกการส่งสัญญาณแบบ DSSS และOFDM สามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ Wireless LAN มาตรฐาน IEEE 802.11b ความเร็วสูงสุดในการทำงานของมาตรฐานนี้อยู่ที่ 54 Mbps (แบบ DSSS : 1 Mbps, 2 Mbps, 5.5 Mbps และ 11 Mbps และแบบ OFDM : 6 Mbps, 9 Mbps, 12 Mbps, 18 Mbps, 24 Mbps, 36 Mbps, 48 Mbps และ 54 Mbps) และมีระยะทำงานไกลสุดเท่ากับมาตรฐาน IEEE 802.11b คือ100 เมตร
3.มาตรฐาน IEEE 802.11a เป็นมาตรฐานเครือข่ายของระบบ Wireless LAN ที่ใช้ความถี่ย่าน 5 GHz (ในประเทศไทยไม่อนุญาตให้ใช้งาน) มีกลไกการส่งสัญญาณแบบ OFDM ความเร็วในการทำงาน 54 Mbps (6 Mbps, 9 Mbps, 12 Mbps, 18 Mbps, 24 Mbps, 36 Mbps, 48 Mbps และ 54 Mbps) ที่ระยะไกลสุด 50 เมตร แต่ไม่สามารถทำงานร่วมกับอุปกรณ์ในมาตรฐาน IEEE 802.11g ได้เนื่องจากใช้ความถี่ต่างกัน4.มาตรฐาน IEEE 802.11n เป็นมาตรฐานเครือข่ายของระบบ Wireless LAN ที่จะมาแทนที่มาตรฐาน IEEE 802.11a, IEEE 802.11b และ IEEE 802.11g ที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบัน โดยมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลในระดับ 100 Mbps และระยะทางในการใช้งานที่ไกลกว่า ซึ่งจะใช้เทคโนโลยีใหม่แบบ MIMO ทั้งนี้จะทำให้สามารถรองรับการทำงานของ VDO Streaming, Game, VoIP หรือการสั่งพิมพ์งานผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย
คลิ๊กแหล่งที่มา
คลิ๊กแหล่งที่มา
วันพุธที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2557
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6
1.คุณสมบัติของข้อมูลที่ดีประกอบด้วยอะไรบ้าง จงอธิบาย
ตอบ - ความถูกต้อง(Accuracy)
ข้อมูลที่ดีควรตรวจสอบแหล่งที่มาหรือหลักฐานอ้างอิงได้
5.ในแง่ของการจัดการข้อมูลนั้น ข้อมูลมีโอกาสซ้ำกันได้หรือไม่ จะมีวิธีแก้ไขได้อย่างไร
ตอบ ข้อมูลมีโอกาสซ้ำกันได้ มีวิธีแก้ไขคือใช้วิธีการจัดเก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันนำมาจัดเรียงรวมกันเสียใหม่อย่างเป็นระบบเพื่อให้สะดวกต่อการค้นหาและเรียกใช้ข้อมูลร่วมกัน โดยจัดทำเป็น ระบบฐานข้อมูล นั่นเอง
8.เหตุใดจึงต้องนำระบบฐานข้อมูลมาใช้ในการทำงาน จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ เพราะการนำระบบฐานข้อมูลมาใช้ในการทำงานนั้นจะช่วยให้การทำงานมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น เช่น การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลบนเว็บสำหรับการเก็บข้อมูลสินค้า ข้อมูลการซื้อ ข้อมูลยอดขาย เป็นต้น
10.DBMS มีประโยชน์อย่างไรต่อการใช้งานฐานข้อมูล
ตอบเป็นเสมือนตัวกลางที่อำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานฐานข้อมูลได้เป็นอย่างดีโดยไม่จำเป็นต้องทราบถึงโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลในระดับที่ลึกมากก๊สามารถดูแลรักษาฐานข้อมูลได้รวมถึงควบคุมการเข้าถึงข้อมูลต่างๆได้ด้วย อีกทั้งยังทำให้การค้นคืนข้อมูลต่างๆสามารถทำได้ง่ายดาย ซึ่งมีภาษาการจัดเก็บข้อมูลโดยเฉพาะของตนเอง
12.ความสามารถทั่วไปของ DBMS มีอะไรบ้าง จงอธิบาย
ตอบ คุณสมบัติหรือความสามารถโดยทั่วไปของ DBMS พอสรุปได้ดังนี้
ตอบ - ความถูกต้อง(Accuracy)
จำเป็นต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้องตรงกับความเป็นจริงหรือถูกต้องตรงกันกับแหล่งข้อมูลนั้น
- มีความเป็นปัจจุบัน (Update)
ข้อมูลที่ทันสมัยมาใช้ในการประมวลผลจะทำให้ได้ข้อมูลที่มีประโยชน์อย่างแท้จริง
- ตรงตามความต้องการ (relevance)
ข้อมูลที่ถูกต้องแต่ไม่ตรงกับความต้องการก็ถือว่าเป็นข้อมูลที่ใช้ไม่ได้
- ความสมบูรณ์ (Complete)
ข้อมูลที่ดีต้องมีความครบถ้วนสมบูรณ์
- สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable)
5.ในแง่ของการจัดการข้อมูลนั้น ข้อมูลมีโอกาสซ้ำกันได้หรือไม่ จะมีวิธีแก้ไขได้อย่างไร
ตอบ ข้อมูลมีโอกาสซ้ำกันได้ มีวิธีแก้ไขคือใช้วิธีการจัดเก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันนำมาจัดเรียงรวมกันเสียใหม่อย่างเป็นระบบเพื่อให้สะดวกต่อการค้นหาและเรียกใช้ข้อมูลร่วมกัน โดยจัดทำเป็น ระบบฐานข้อมูล นั่นเอง
8.เหตุใดจึงต้องนำระบบฐานข้อมูลมาใช้ในการทำงาน จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ เพราะการนำระบบฐานข้อมูลมาใช้ในการทำงานนั้นจะช่วยให้การทำงานมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น เช่น การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลบนเว็บสำหรับการเก็บข้อมูลสินค้า ข้อมูลการซื้อ ข้อมูลยอดขาย เป็นต้น
10.DBMS มีประโยชน์อย่างไรต่อการใช้งานฐานข้อมูล
ตอบเป็นเสมือนตัวกลางที่อำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานฐานข้อมูลได้เป็นอย่างดีโดยไม่จำเป็นต้องทราบถึงโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลในระดับที่ลึกมากก๊สามารถดูแลรักษาฐานข้อมูลได้รวมถึงควบคุมการเข้าถึงข้อมูลต่างๆได้ด้วย อีกทั้งยังทำให้การค้นคืนข้อมูลต่างๆสามารถทำได้ง่ายดาย ซึ่งมีภาษาการจัดเก็บข้อมูลโดยเฉพาะของตนเอง
12.ความสามารถทั่วไปของ DBMS มีอะไรบ้าง จงอธิบาย
ตอบ คุณสมบัติหรือความสามารถโดยทั่วไปของ DBMS พอสรุปได้ดังนี้
-สร้างฐานข้อมูลโดยปกตินั้น การออกแบบฐานข้อมูลอาจต้องมีการเก็บข้อมูลหรือขั้นตอนการทำงานของระบบที่จะพัฒนาเสียก่อนเพื่อให้ทราบได้ว่าต้องการฐานข้อมูลอะไรบ้าง ตารางที่จัดเก็บมีกี่ตาราง จากนั้นจึงนำเอามาสร้างเป็นฐานข้อมูลจริงใน DBMS ทั่วโป โดยผ่านเครื่องมือที่มีอยู่ในโปรแกรมซึ่งอาศัยภาษา SQLในการสั่งงาน- เพิ่ม เปลี่ยนแปลงแก้ไขและลบข้อมูลฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นด้วย DBMS นั้น สามารถเพิ่มค่า เปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลต่างๆได้ทุกเมื่อโดยเข้าไปจัดการได้ที่ DBMS โดยตรง เช่น เพิ่มค่าเรคอร์ดบางเรคอร์ดที่ตกหล่น ลบหรือแก้ไขข้อมูลบางเรคอร์ดที่ต้องการ เป็นต้น- จัดเรียงและค้นหาข้อมูลDBMS สามารถจัดเรียงข้อมูลได้โดยง่าย ซึ่งสามารถเลือกได้ว่าจะให้จัดเรียงแบบใด เรียงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามากหรือเรียงตามลำดับวันเวลา เป็นต้น นอกจากนั้นยังสามารถระบุค่าเพียงบางค่าเพื่อค้นหาข้อมูลได้โดยง่าย เช่น ป้อนอักษร A เพื่อค้นหาข้อมูลสินค้าที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A ได้ เป็นต้น- สร้างรูปแบบและรายงาน การแสดงผลบนหน้าจอ (form) และพิมพ์ผลลัพธ์รายการต่างๆออกมาเป็นรายงาน (report) เป็นอีกคุณสมบัติหนึ่งที่ DBMS สามารถทำได้ ช่วยให้ผู้ใช้งานที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลดังกล่าว สามารถตรวจสอบหรือแก้ไขรายการที่มีอยู่นั้นได้โดยง่าย
วันอังคารที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2557
ระบบปฏิบัติการ Window 7
วินโดวส์ 7 เป็นระบบปฏิบัติการวินโดวส์ตัวที่ 7 ของสายตระกูลวินโดวส์ Windows 7 ในแรกเริ่มเดิมทีมีชื่อหรือรหัสในการพัฒนาว่า แบล็คโคมบ์ (Blackcomb) ต่อมาถูกเปลี่ยนเป็น เวียนนา (Vienna) โดย Windows 7 จะถูกผลิตขึ้นมาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นกับ Vista ที่ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ซึ่งคำว่า 7 น่าจะมาจากการเป็นวินโดว์รุ่นที่ 7 โดยเริ่มจากการนับ Windows 1.0-3.0, Windows NT คือ 3.1,Windows 95 Windows NT4 คือ 4.0, Windows 98 คือ 4.0.1998, Windows 98 SE คือ 4.10.2222 Windows ME คือ 4.90.3000,Windows 2000 คือ 5.0, Windows XP คือ 5.1, Windows Vista คือ 6.0 และ Windows 7 คือ 6.1
เทคนิคการทำงานของระบบปฏิบัติการWindows 7
ในลักษณะ Tips And Techniquse
Desktop Slideshow: วอลเปเปอร์เปลี่ยนได้
ใครที่ชอบสร้างบรรยากาศในการทำงานบนคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊ค นี่คือลูกเล่นเล็กๆ น้อยๆ ให้คุณได้เปลี่ยนความจำเจ ด้วยฟีเจอร์ Desktop Slideshow ที่คุณสามารถเลือกชุดภาพพื้นหลัง (Background) แล้วตั้งค่าให้เปลี่ยนไปเรื่อยๆ แก้เบื่อเพิ่มความเท่ได้ไม่น้อย

ก่อนอื่นสร้างโฟลเดอร์ใหม่ที่จะใช้เป็นสไลด์โชว์เก็บภาพที่ต้องการโชว์ไว้ในโฟลเดอร์ จากนั้นเข้าไปที่ Start ในช่อง Run พิมพ์ “Desktop Background” แล้วกด Enter จากนั้นจะมีหน้าต่างใหม่โชว์ขึ้นมา ที่หัวข้อ Picture Location ให้คุณเลือก “Picture Library” ทำการ Browse ไปยังโฟลเดอร์ที่สร้างตอนแรก จากนั้นที่ด้านล่างให้เลือก “Change Picture Every” เพื่อตั้งเวลาในการเปลี่ยนภาพ กด “Save Change” เท่านี้ก็เสร็จสิ้นจากเปลี่ยนแบ็กกราวด์ให้เป็นสไลด์โชว์
ใครที่ชอบสร้างบรรยากาศในการทำงานบนคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊ค นี่คือลูกเล่นเล็กๆ น้อยๆ ให้คุณได้เปลี่ยนความจำเจ ด้วยฟีเจอร์ Desktop Slideshow ที่คุณสามารถเลือกชุดภาพพื้นหลัง (Background) แล้วตั้งค่าให้เปลี่ยนไปเรื่อยๆ แก้เบื่อเพิ่มความเท่ได้ไม่น้อย
ก่อนอื่นสร้างโฟลเดอร์ใหม่ที่จะใช้เป็นสไลด์โชว์เก็บภาพที่ต้องการโชว์ไว้ในโฟลเดอร์ จากนั้นเข้าไปที่ Start ในช่อง Run พิมพ์ “Desktop Background” แล้วกด Enter จากนั้นจะมีหน้าต่างใหม่โชว์ขึ้นมา ที่หัวข้อ Picture Location ให้คุณเลือก “Picture Library” ทำการ Browse ไปยังโฟลเดอร์ที่สร้างตอนแรก จากนั้นที่ด้านล่างให้เลือก “Change Picture Every” เพื่อตั้งเวลาในการเปลี่ยนภาพ กด “Save Change” เท่านี้ก็เสร็จสิ้นจากเปลี่ยนแบ็กกราวด์ให้เป็นสไลด์โชว์
วันพฤหัสบดีที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
Prefix
Prefix คืออะไร?
prefix (พรี-ฟิกซฺ) หมายถึง ส่วนประกอบหน้าคำหลัก สำหรับ prefix นั้น เปรียบเสมือนกับกาฝาก ที่จะต้องเกาะอยู่กับคำหลัก ซึ่งมีความหมายโดยสมบูรณ์ภายในตัวมันเองอยู่แล้ว เมื่อนำเอา prefix ใส่เข้าไปหน้าคำหลัก ก็จะทำให้ความหมายของคำเปลี่ยนไป แต่ยังคงหน้าที่ของคำหลักไว้เหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
ขนาดความจุ
บิต (Bit) Binary Digit เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลที่ใช้อยู่ในคอมพิวเตอร์
ไบต์ (Byte) ตัวเลขจำนวน 8 บิต จะรวมกันเข้าเป็น 1 ไบต์
กิโลไบต์ (Kilobyte) ใช้ย่อว่า KB โดย 1 KB มีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์
เมกะไบต์ (Megabyte) ใช้ย่อว่า MB โดย 1 MB มีค่าเท่ากับ 1,048,576 หรือ(1,024 x 1,024 ) มักใช้ในการวัดหน่วยความจำหลัก (RAM)
กิกะไบต์ (Gigabyte) ใช้ย่อว่า GB โดย 1 GB มีค่าเท่ากับ 1,073,741,824 หรือ (1,024 x 1,024 x 1,024)
เทราไบต์ (Terabyte) ใช้ย่อว่า TB โดย 1 เทราไบต์จะเท่ากับ 1,099,511,627,776 หรือ (1024 x 1024 x 1024 x 1024) บิต (Bit) Bin
เวลา
มิลลิเซกันด์ (Millisecond) หรือ 1 ส่วนพันวินาที ใช้วัดเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงข้อมูลของฮาร์ดดิสก์(Access Time)
ไมโครเซกันด์ (Microsecond) หรือ 1 ส่วนล้านวินาที
นาโนเซกันด์ (Nanosecond) หรือ 1 ส่วนพันล้านวินาที ใช้วัดความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลใน
หน่วยความจำหลัก
พิโคเซกันด์ (Picosecond) หรือ 1 ส่วนล้านล้านวินาที มักใช้วัดรอบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงมาก ๆ
ความเร็ว
เฮิรตซ์ (Hz : Hertz) หรือ รอบต่อวินาที มักใช้ในการวัดรอบการทำงานของนาฬิกาของ Processorหรือความเร็วของ Bus
มิปส์ (MIPS : Millions of Instructions Per Second) มักใช้วัดความเร็วในการประมวลผลเครื่องคอมพิวเตอร์ (คำสั่งต่อวินาที)
คลิ๊กแหล่งที่มาData Measurement Chart | ||
Data Measurement | Size | |
Bit | Single Binary Digit (1 or 0) | |
Byte | 8 bits | |
Kilobyte (KB) | 1,024 Bytes | |
Megabyte (MB) | 1,024 Kilobytes | |
Gigabyte (GB) | 1,024 Megabytes | |
Terabyte (TB) | 1,024 Gigabytes | |
Petabyte (PB) | 1,024 Terabytes | |
Exabyte (EB) | 1,024 Petabytes |
คลิ๊กแหล่งที่มา
คลิ๊กแหล่งที่มา
วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
Cloud Computing
Cloud Computing คืออะไร?
Cloud Computing (คลาวด์คอมพิวติ้ง)ก็คือ แนวคิดการใช้งานทางด้านไอทีที่ใช้วิธีดึงพลังและสมรรถนะจากคอมพิวเตอร์หลาย ๆ ตัวจากต่างสถานที่ให้มาทำงานสอดประสานกันเพื่อช่วยขับเคลื่อนการบริการทางด้านไอที
ยกตัวอย่างเช่น นาย A เป็นเจ้าของเว็บไซต์ที่มีคนเข้าวันละประมาณ 100,000 คน Server ที่เก็บเว็บไซต์ของนาย A ก็รองรับได้สูงสุดที่ 100,000 คนต่อวัน ไม่มีปัญหาอะไร
แต่ถ้าวันใดวันหนึ่งเว็บไซต์ของนาย A เกิดได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น มีคนเข้ามากกว่า 100,000 คนต่อวัน ก็ทำให้เกินกำลังของ server ทำให้เว็บไซต์ล่มใช้งานไม่ได้
แต่ถ้านาย A ใช้ระบบ Cloud Computing โดยคอมพิวเตอร์ Server กลุ่มนี้มีสักสิบเครื่อง เครื่องหนึ่งรองรับคนได้ 100,000 คนต่อวัน ระบบทั้งหมดก็จะรองรับคนเข้าเว็บไซต์ได้สูงถึง 1,000,000 คนต่อวันครับ
กล่าวได้ง่ายๆก็คือ Cloud computing นั้นเป็น "Anywhere! Anytime!" คือทุกที่ทุกเวลา ไม่ว่าคุณจะอยู่ตรงไหนก็ตาม ขอแค่มี Internet กับ Computer สักตัว คุณก็ทำงานได้แบบ 24/7 (24 ชั่วโมง 7)
โดยในปัจจุบัน องค์กรสามารถใช้ Cloud Technology หรือ Cloud Computing ได้ 2-3 รูปแบบ (SaaS, IaaS, PaaS) อธิบายแบบง่ายๆ คือ
รูปแบบที่ 1 (Software as a Service, SaaS): จากรูปด้านล่างผู้ใช้สามารถเข้าถึงแอพพลิเคชั่นและข้อมูลองค์กรได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยผู้ใช้สามารถเรียกใช้ Business Software บน Cloud Technologyได้ทันที เช่น ใช้ Email Application, ระบบ File Sharing/Content Management, ระบบ CRM Application สำหรับ Sales และ Customer Support เป็นต้น โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องสนใจเลยว่า Application นี้ทำงานอยู่ที่ไหน เก็บข้อมูลอย่างไร ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานได้ตลอด ทุกที่ ทุกเวลา ที่สามารถเข้าถึง Internet ได้
![]() |
Software as a Service (SaaS): ผู้ใช้สามารถใช้บริการ Application ได้ทุกที่ ทุกเวลา ที่มี Internet |
รูปแบบที่ 2 (Infrastructure as a Service, IaaS): สะดวก ยืดหยุ่น และ ง่ายต่อการบริหารทรัพยากร IT ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ Virtual Server/ Virtual Machine บน Cloud Technology ได้ทันที ยกตัวอย่างเช่น หากต้องการเครื่อง Server ที่มี 4 CPUs, 32GB Memory, 10TB Storage สามารถเรียกขึ้นมาใช้ได้ทันที จาก Cloud Technology เช่นเดียวกันกับรูปแบบที่ 1 ที่ผู้ใช้ไม่ต้องสนใจเลยว่า Virtual Server หรือ Virtual PC/Desktop ที่ได้มานั้น ตั้งอยู่ที่ไหนมาได้อย่างไร สามารถเรียกใช้หรือคืนได้ทันทีเมื่อใช้เสร็จ
Cloud Technology รูปแบบที่ 3 (Platform as a Service, PaaS): เป็นรูปแบบที่กำลังจะมีความสำคัญมากขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ของเพื่อให้ นักพัฒนาซอฟต์แวร์สามารถพัฒนาแอพพลิเคชั่นที่อาศัยคุณสมบัติข้อดีของCloud ได้อย่างดีเยี่ยม รูปแบบนี้ อาจจะอธิบายได้ยากและซับซ้อนมากขึ้นกว่า 2 รูปแบบแรก ซึ่งผู้ใช้ Cloud ในรูปแบบนี้จะเป็นกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer) ที่ต้องการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานบน Cloud และให้ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นนั้นใช้คุณสมบัติต่างๆของ Cloud ที่จะไม่สามารถหาได้จากสภาวะปกติ (Non-cloud computing) เช่น ความสามารถในการขยาย Computing Resource (CPU/Memory) เมื่อต้องใช้ประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก หรือ หดComputing Resource เมื่อใช้ประมวลผลข้อมูลจำนวนไม่มาก เป็นต้น โดยเป็นรูปแบบการใช้ Cloud Technology ที่กำลังจะเป็นที่นิยมมากขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ ไม่น่าเกินปี 2015
ประโยชน์ของ Cloud Computing มีดังนี้
1. ประหยัดการลงทุนเรื่องทรัพยากรคอมพิวเตอร์ เพราะเปลี่ยนมาเป็นการเช่าระบบแทน ซึ่งทำให้บริษัทที่มีเงินลงทุนจำกัดสามารถมีระบบสารสนเทศที่ดีใช้ได้เท่า เทียมกับบริษัทอื่นๆ
2. สามารถสร้างระบบใหม่ขึ้นมาใช้ได้ในเวลาอันรวดเร็ว เพราะว่าผู้ให้บริการจะจัดเตรียมทรัพยากรขนาดใหญ่ไว้รองรับผู้ใช้บริการอยู่ แล้ว ดังนั้นจึงไม่ต้องมีระยะเวลาการ ออกแบบระบบ สั่งซื้อฮาร์แวร์ และติดตั้งฮาร์ดแวร์ ซึ่งแค่นี้ก็ลดระยะเวลาดำเนินการไปเป็นเดือนเลยทีเดียว
3. เพิ่มขนาดทรัพยากรได้ง่ายดายและรวดเร็ว ในกรณีที่ระบบของผู้ใช้บริการมีขนาดใหญ่ขึ้นก็ย่อมต้องขยายทรัพยากรให้เพิ่ม ขึ้นตามการใช้งาน ซึ่งระบบที่เป็นของบริษัทเองคงต้องทำการออกแบบและสั่งซื้อและติดตั้งกัน วุ่นวายเสียเวลา ด้วยการใช้บริการ Cloud computing ก็ทำให้การเพิ่มขนาดทรัพยากรนั้นง่ายและรวดเร็วภายในข้ามคืนเท่านั้น
4. ขจัดปัญหาเรื่องการดูแลระบบทรัพยากรสารสนเทศ ออกไปให้ผู้ให้บริการ Cloud computing ดูแลแทน จึงทำให้ลดทั้งความยุ่งยากของการดูแลและลดจำนวนบุคลากรที่ต้องจ้างมาเพื่อ ดูแลระบบอีกด้วย
เอกลักษณ์เฉพาะตัวของ Cloud Computing มีอะไรบ้าง
- Agility ผู้ใช้จะรู้สึกเหมือนทุกอย่างผ่านไปอย่างรวดเร็ว
- Cost ช่วยลดค่าใช้จ่ายในองค์กร
- Device and location independence ทุกที่ทุกเวลา ขอแค่คอมพิวเตอร์ กับ Internet Connection
- Multi-tenancy สามารถแบ่างทรัพยากรไปให้ผู้ใช้จำนวนมาก
- Reliability ความน่าเชื่อถือ มีความพร้อมสำหรับการรับมือกับภัยคุกคามข้อมูลต่างๆมากแค่ไหน
- Scalability พร้อมสำหรับการปรับเปลี่ยนไปตามความต้องการ ... ความต้องการของผู้ใช้ และเตรียมรองรับเทคโนโลยีหลายๆรูปแบบ
- Security สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ และยิ่งใน Cloud Computing แล้วข้อมูลอรวมอยู่ที่เดียวกัน ก็ยิ่งต้องเพิ่มความปลอดภัยให่มากยิ่งขึ้น
- Sustainability โครงสร้างที่แข็งแรงต้องอาศัยความแข็งจากทุกส่วนรวมกัน
- Agility ผู้ใช้จะรู้สึกเหมือนทุกอย่างผ่านไปอย่างรวดเร็ว
- Cost ช่วยลดค่าใช้จ่ายในองค์กร
- Device and location independence ทุกที่ทุกเวลา ขอแค่คอมพิวเตอร์ กับ Internet Connection
- Multi-tenancy สามารถแบ่างทรัพยากรไปให้ผู้ใช้จำนวนมาก
- Reliability ความน่าเชื่อถือ มีความพร้อมสำหรับการรับมือกับภัยคุกคามข้อมูลต่างๆมากแค่ไหน
- Scalability พร้อมสำหรับการปรับเปลี่ยนไปตามความต้องการ ... ความต้องการของผู้ใช้ และเตรียมรองรับเทคโนโลยีหลายๆรูปแบบ
- Security สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ และยิ่งใน Cloud Computing แล้วข้อมูลอรวมอยู่ที่เดียวกัน ก็ยิ่งต้องเพิ่มความปลอดภัยให่มากยิ่งขึ้น
- Sustainability โครงสร้างที่แข็งแรงต้องอาศัยความแข็งจากทุกส่วนรวมกัน
วันอาทิตย์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญด้านคอมพิวเตอร์
1.Charles Babbage
![]() |
รูปภาพของชาลส์ แบบเบจ |
ชาลส์ แบบบิจ ( Charles Babbage) เกิดปี ค.ศ. 1791 (พ.ศ. 2334) ที่อังกฤษ ในครอบครัวของนายธนาคาร แบบบิจเติบโตมาในยุคที่อังกฤษเป็นมหาอำนาจ และกำลังอยู่ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยรัฐบาลสนับสนุนให้ทุนการพัฒนาในสาขาต่าง ๆ อย่างเต็มที่. แบบบิจศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ ทรินิตี้ คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ที่คณะคณิตศาสตร์ (Mathematical Laboratory)
ผลงาน
คลิ๊กแหล่งที่มา
2.Lady Augusta Ada Byron
![]() |
รูปภาพเอดา เลิฟเลซ |
เอดา ไบรอน เลิฟเลซ (Lady Augusta Ada Byron, Countess of Lovelace) โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก เป็นบุตรสาวของ ลอร์ด ไบรอน (Lord Byron) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2358 (ค.ศ. 1815) หลังจากเธอเกิดไม่นาน พ่อแม่ของเธอก็แยกทางกัน แม่ของเอดา จึงตัดสินใจเลี้ยงดูเธอให้เป็นผู้หญิงสมัยใหม่ และให้ศึกษาด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ต่างไปจากกุลสตรีในตระกูลใหญ่ๆ ของอังกฤษทั่วไป
ผลงาน
พออายุ 17 ปี ก็มีผู้แนะนำให้เอดารู้จัก Mrs. Somerville แห่งเคมบริดจ์ ผู้หญิงเก่งแห่งยุค ที่เคยแปลงานของ Laplace มาเป็นภาษาอังกฤษ เอดาจึงเข้ามาคลุกคลีกับเพื่อนกลุ่มนี้ จนได้รู้จักกับ ชาลส์ แบบบิจ ในงานสังสรรค์แห่งหนึ่ง ในที่สุด ในงานวันนั้น ตอนที่แบบบิจกล่าวว่า "what if a calculating engine could not only foresee but could act on that foresight" (จะเป็นอย่างไร ถ้าหากเครื่องคำนวณไม่เพียงสามารถหยั่งรู้ได้ หากแต่สามารถตอบสนองต่อการหยั่งรู้นั้นได้ด้วย) ไม่มีใครสนใจแนวคิดนี้ของแบบบิจเลย ยกเว้นเอดา ซึ่งเธอรู้สึกสนใจในงานนี้เป็นอย่างมาก จนอาสาที่จะช่วยพัฒนา โดยสิ่งที่เธอทำคือ การสร้างภาษาสำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของแบบเบจ
หลังจากนั้นไม่นาน เอดาได้แต่งงานกับท่านเอิร์ลแห่ง เลิฟเลซ และมีบุตรด้วยกันสามคน
ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา ทั้งเอดาและแบบบิจ ยังเป็นเพื่อนกันทางจดหมาย และแลกเปลี่ยนความเห็นเรื่องเครื่องวิเคราะห์อย่างสม่ำเสมอ โดยจดหมายของทั้งสองถูกเก็บไว้อย่างดีในยุคนี้ เพราะมีข้อมูลน่าสนใจมากมาย (ทั้งเรื่องจริง และจินตนาการ) เช่น เอดาบอกว่า เธอเชื่อว่าต่อไปเครื่องมืออันนี้ จะมีความสามารถที่จะแต่งเพลงที่ซับซ้อน สร้างภาพกราฟิก นำมาใช้เพื่อการคำนวณขั้นสูง และพัฒนาวงการวิทยาศาสตร์ได้ ในจดหมายฉบับหนึ่ง เอดาแนะนำแบบบิจว่า ให้ลองเขียนแผนการทำงานของเครื่องมืออันนี้ ให้สามารถคำนวณ Bernoulli numbers ขึ้นมา
ต่อมา แผนการทำงานที่แบบบิจเขียนขึ้นมาชิ้นนั้น ก็ถูกยกย่องว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกของโลก เธอจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก เอดาก็ช่วยเขียนบรรยาย รายละเอียดการทำงานของเครื่องวิเคราะห์ แต่สุขภาพของเธอก็เริ่มมีปัญหา และสุดท้ายก็เสียชีวิตด้วยวัยเพียง 37 ปี อีกร้อยกว่าปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ สร้างภาษาคอมพิวเตอร์มาตรฐาน ISO ขึ้นมาตัวแรก พร้อมตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ เลดี้ เอดา ว่า ภาษา "ADA"
ในช่วงที่ยังมีชีวิตอยู่ เอดาได้รู้จัก และอาสาช่วยงาน พร้อมทั้งอุปการะ นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ รวมทั้งนักเขียนหลายคน เช่น Sir David Brewster คนคิดคาไลโดสโคป, ชาลส์ วีทสโตน, ชาลส์ ดิกเก้นส์, และ ไมเคิล ฟาราเดย์
คลิ๊กแหล่งที่มา
3.Herman Hollerith
![]() |
รูปภาพ ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ |
ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ เกิดวันที่ 29 Feb 1860 สถานที่่เกิด Buffalo, New York, USA บิดามารดาได้อพยพไปสหรัฐอเมริกาจากประเทศเยอรมนีใน 1,848 หลังจาก disturbances ทางการเมืองในประเทศที่โรงเรียนไม่ได้อย่างง่ายสำหรับ Herman แม้ว่าที่เขาฉลาด
ผลงาน
ค.ศ. 1884 : ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ (Dr.Herman Hollerith) นักสถิติชาวอเมริกัน เป็นผู้คิดประดิษฐ์บัตรเจาะรูสำหรับเก็บข้อมูล โดยได้แนวคิดจากบัตรควบคุมการทอผ้าของ Jacquardและวิธีการหนีบตั๋วรถไฟของเจ้าหน้าที่รถไฟ นำมาดัดแปลงและประดิษฐ์เป็นบัตรเก็บข้อมูลขึ้น และทำการสร้างเครื่องคำนวณไฟฟ้าที่สามารถอ่านบัตรที่เจาะได้ ทำให้สามารถทำงานได้อย่างรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก
เมื่อปี ค.ศ. 1880 สำนักงานสำรวจสำมะโนประชากรสหรัฐอเมริการได้ทำการสำรวจสำมะโนประชากรโดยใช้แรงงานคนในการประมวลผล ต้องใช้เวลาถึง 7 ปีครึ่งยังไม่แล้วเสร็จ ข้อมูลที่ได้ไม่แน่นอนและไม่ค่อยถูกต้อง ต่อมา ค.ศ. 1890 สำนักงานฯ จึงได้ว่าจ้าง ฮอลเลอริธ มาทำการประมวลผลการสำรวจ ปรากฏว่าเมื่อใช้เครื่องทำตารางข้อมูล (Tabulating machine) และหีบเรียงบัตร (Sorting) ของฮอลเลอริธแล้ว ใช้เวลาในการประมวลผลลดลงถึง 3 ปี
ค.ศ. 1896 : ฮอลเลอริธ ได้ตั้งบริษัทผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์การประมวลผลด้วยบัตรเจาะรู และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัทไอบีเอ็ม (International Business Machines Corporation)ในปี ค.ศ. 1924
คลิ๊กแหล่งที่มา
4.Alan Turing
![]() |
รูปภาพแอลัน ทัวริง |
แอลัน ทัวริง เป็นชาวอังกฤษ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) ที่ลอนดอน และอาศัยอยู่กับพี่ชาย
บิดาและมารดาของทัวริง พบกัน และทำงานที่ประเทศอินเดีย
ผลงาน
แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing) (23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์,นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยา และวีรบุรุษสงคราม ชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุกๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ
หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริงๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้
นอกจากนั้นแล้วการทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งในขณะมีถกเถียงที่สำคัญว่า: เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้ชื่อของแอลัน ทัวริง ยังถูกพาดพิงถึงในเนื้อเรื่องของเกมคอมพิวเตอร์แนวสยองขวัญชื่อว่า "เอาท์ลาสท์" (Outlast) โดยในเนื้อเรื่องที่ถูกสมมุติขึ้นมานี้กล่าวว่า ทัวริงเป็นผู้ร่วมก่อตั้งองค์กร เมอร์กออฟ ร่วมกับ ดร.รูดอล์ฟ เวอร์นิค ซึ่งเป็นตัวละครสมมุติในเนื้อเรื่องของเกม
![]() |
รูปปั้น แอลัน ทัวริง |
5.
![]() |
รูปภาพคอนราด ซูส |
คอนราด ซูส(Konrad Zuse) เกิดวันที่ 22 June 1910 สถานที่เกิด Berlin-Wilmersdorf, Germanyเป็นลูกชายของแมรี่และเอมิล เมื่อเขาอายุได้สองขวบครอบครัวย้ายไปทางทิศตะวันออกปรัสเซียนบราวน์เมาท์เทน พ่อเขาเป็นพนักงานไปรษณีย์ทำงานในการให้บริการกลาง เขาเรียนโรงเรียนมัธยมHosianum
ผลงาน
คอนราด ซูส (Konrad Zuse) สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ไบนารีที่เขาได้ออกแบบทฤษฎีสำหรับภาษาโปรแกรมชั้นสูง ชื่อว่า Plankalkül
Zuse สร้างคอมพิวเตอร์ Z1เสร็จเครื่องใน 1,938. มันเป็นกลทั้งหมดมีหน่วยคำนวณประกอบด้วยจำนวนมากสวิตช์เครื่องกลและหน่วยความจำประกอบด้วยชั้นของแถบโลหะระหว่างชั้นของกระจก. หนึ่งในคุณสมบัติใหม่ที่สุดของมันแล้วว่าจะเป็นโปรแกรมโดยเทป punched. เหตุผลหลักว่าทำไม Zuse ประสบความสำเร็จในการสร้างคอมพิวเตอร์กลของเขาที่ Babbage ได้ล้มเหลวคือความจริงที่ Z1 Zuse ของเป็นเครื่อง binary สองตำแหน่งสวิทช์เพื่อแสดง 0 และ 1 แต่กล่าว Zuse ที่ประสบความสำเร็จกับ Z1 เป็นบิตของการพูดเกินจริงสำหรับเครื่องไม่ได้ดี หน่วยความจำที่มีคุณสมบัติสำเร็จวิธีการที่คำสั่งถูกส่งผ่านเชื่อมโยงกลไม่สำเร็จ
คลิ๊กแหล่งที่มา
6. Prof.Howard H. Aiken
![]() |
รูปภาพฮาวเวิร์ดฮาธาเวย์ไอ |
Howard H.Aikenเกิดวันที่ 8 มีนาคม 1900 สถานที่เกิดนิวเจอร์ซี่มลรัฐ นิวเจอร์ซีย์
ผลงาน
รางวัลโดดเด่น แฮรี่กู๊ดเอชอนุสรณ์รางวัล(1970) เอดิสันเหรียญ(1970)ฮาวเวิร์ดฮาธาเวย์ไอ (8 มีนาคม 1900 - 14 มีนาคม 1973) เป็นผู้บุกเบิกในการคำนวณการออกแบบแนวความคิดเดิมที่อยู่เบื้องหลังIBMของฮาร์วาร์มาร์คชั่นคอมพิวเตอร์ ในปี ค.ศ. 1931 Howard H.Aiken ได้เริ่มพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นที่มหาลัยฮาร์วาร์ด โดยอาศัยแนวคิดของบัตรเจาะรูเป็นสื่อนำข้อมูลเข้า พร้อมด้วยการทำงานแบบเครื่องจักรกลไฟฟ้า และการพัฒนาดังกล่าวนี้ได้เสร็จสิ้นลงในปี ค.ศ. 1944 ภายใต้การสนับสนุนด้านการเงิน และบุคลากรจากไอบีเอ็ม Mark I จึงมีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า IBM. Automatic Setwence Controlled Calculator
คลิ๊กแหล่งที่มา
7. John V. Atanasoff & Clifford Berry
ประวัติ
จอห์น วี. อะทานาซอฟฟ์ (John V. Atanasoff) เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.1903 ที่เมืองนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ท่านเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ไฟฟ้าเป็นคนแรก คือเครื่อง ABC เมื่อปี ค.ศ. 1937 (ก่อนหน้านี้เป็นคอมพิวเตอร์แบบเครื่องจักรกล) ในขณะนั้นเขาอาจไม่รู้ว่าผลงานของเขาจะมีบทบาทต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ในอนาคตมากมายขนาดนี้ เขาได้เปิดประตููสู่ยุคคอมพิวเตอร์ีให้กับคนรุ่นหลังได้พัฒนาต่อยอดมาจนกลายเป็น คอมพิวเตอร์ในปัจุบัน
ท่านเสียชีวิตเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 1995
ประวัติ
Clifford Berry เกิดใน GLADBROOK ไอโอวาเมื่อวันที่ 19 เมษายน 1918
รางวัลโดดเด่น แฮรี่กู๊ดเอชอนุสรณ์รางวัล(1970) เอดิสันเหรียญ(1970)ฮาวเวิร์ดฮาธาเวย์ไอ (8 มีนาคม 1900 - 14 มีนาคม 1973) เป็นผู้บุกเบิกในการคำนวณการออกแบบแนวความคิดเดิมที่อยู่เบื้องหลังIBMของฮาร์วาร์มาร์คชั่นคอมพิวเตอร์ ในปี ค.ศ. 1931 Howard H.Aiken ได้เริ่มพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นที่มหาลัยฮาร์วาร์ด โดยอาศัยแนวคิดของบัตรเจาะรูเป็นสื่อนำข้อมูลเข้า พร้อมด้วยการทำงานแบบเครื่องจักรกลไฟฟ้า และการพัฒนาดังกล่าวนี้ได้เสร็จสิ้นลงในปี ค.ศ. 1944 ภายใต้การสนับสนุนด้านการเงิน และบุคลากรจากไอบีเอ็ม Mark I จึงมีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า IBM. Automatic Setwence Controlled Calculator
คลิ๊กแหล่งที่มา
7. John V. Atanasoff & Clifford Berry
![]() |
รูปภาพจอห์น วี. อะทานาซอฟฟ์ |
จอห์น วี. อะทานาซอฟฟ์ (John V. Atanasoff) เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.1903 ที่เมืองนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ท่านเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ไฟฟ้าเป็นคนแรก คือเครื่อง ABC เมื่อปี ค.ศ. 1937 (ก่อนหน้านี้เป็นคอมพิวเตอร์แบบเครื่องจักรกล) ในขณะนั้นเขาอาจไม่รู้ว่าผลงานของเขาจะมีบทบาทต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ในอนาคตมากมายขนาดนี้ เขาได้เปิดประตููสู่ยุคคอมพิวเตอร์ีให้กับคนรุ่นหลังได้พัฒนาต่อยอดมาจนกลายเป็น คอมพิวเตอร์ในปัจุบัน
ท่านเสียชีวิตเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 1995
รูปภาพคลิฟฟอร์ด แบรี่ |
Clifford Berry เกิดใน GLADBROOK ไอโอวาเมื่อวันที่ 19 เมษายน 1918
![]() |
รูปภาพ ดร.จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟและคลิฟฟอร์ด แบรี่ |
Dr. John Vincent Atanasoff และ Clifford Berry ได้สร้างเครื่อง ABC ( Atanasoft-Berry Computer ) โดยใช้หลอดสูญญากาศ ( vacuum tubes) และในปี พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. พัฒนาเพิ่มเติมบนหลักการออกแบบพื้นฐานของ Dr. Atanasoff เพื่อสร้าง electronic computer เครื่องแรกชื่อ ENIAC แต่ยังไม่เป็นคอมพิวเตอร์ชนิดเก็บโปรแกรมได้ ( stored program ) จึงได้รับการพัฒนาเป็นเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ์และได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDSAC และพัฒนาเป็นเครื่อง UNIVAC ( Universal Automatic Computer ) ในที่สุด
คลิ๊กแหล่งที่มา
คลิ๊กแหล่งที่มา
8.Dr. John W. Mauchly & J. Presper Eckert
![]() |
รูปภาพดร. จอห์น ดับบลิว เมาชลี |
Dr.John W. Mauchy เกิด 30 สิงหาคม 1907
![]() |
รูปภาพPersper Eckert |
Persper Eckertเกิดวันที่ 9 April 1919
สถานที่เกิด Philadelphia, Pennsylvania , USA |
![]() |
รูปภาพ John W. Mauchly และ Persper Eckert |
ปี พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. ได้ร่วมกันพัฒนา electronic computer โดยอาศัยหลักการออกแบบบนพื้นฐานของ Dr. Atanasoff electronic computer เครื่องแรกมีชื่อว่าENIAC แม้จะเป็นelectronic computer แต่ENIACก็ยังไม่สามารถเก็บโปรแกรมได้(stored program) จึงได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ์และได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDSAC และท้ายสุดก็ได้พัฒนาเป็นเครื่องUNIVAC(Universal Automatic Computer) ในเวลาต่อมา
คลิ๊กแหล่งที่มา
9. Dr. John Von Neumann
ประวัติ
จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann, Neumann János, (28 ธ.ค.( ค.ศ. 1903) - 8 ก.พ. (ค.ศ. 1957)) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี
![]() |
รูปภาพ จอห์น ฟอน นอยมันน์ |
จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann, Neumann János, (28 ธ.ค.( ค.ศ. 1903) - 8 ก.พ. (ค.ศ. 1957)) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี
ผลงาน
จอห์น ฟอน นอยมันน์ มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง ควอนตัมฟิสิกส์ ทฤษฎีเซต วิทยาการคอมพิวเตอร์ เศรษฐศาสตร์ และ จะว่าไปแล้วก็ทุกๆ สาขาในวิชาคณิตศาสตร์ เลยก็ว่าได้นอยมันน์นั้น ได้รับการขนานนามว่าเป็น บิดาของทฤษฎีเกม (game theory) เขาได้ตีพิมพ์หนังสือ Theory of Games and Economic Behavior โดยร่วมเขียนกับ Oskar Morgenstern ในปี ค.ศ. 1944 เขาได้คิดหลักการ "MAD" (mutually assured destruction) ซึ่งเทียบเท่าสำนวนจีนว่า "หยกกระเบื้องล้วนแหลกราญ" หรืออาจแปลไทยได้เป็น "รับรองได้ว่าเจ๊งไปด้วยกันทั้งคู่แน่" ซึ่งเป็นหลักการซึ่งใช้เป็นหลักสำคัญ ในการวางแผนกลยุทธ์ทางด้านอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น
นอยมันน์เป็นคนคิด สถาปัตยกรรมแบบ ฟอน นอยมันน์ ซึ่งใช้กันในคอมพิวเตอร์ (แบบที่ไม่ได้ประมวลผลแบบขนาน) ส่วนใหญ่ พูดได้ว่า คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดในโลกนี้ เป็นเครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ เขาเป็นผู้ริเริ่มสาขา cellular automata และได้สร้างตัวอย่างชุดแรกของ self-replicating automata โดยใช้แค่กระดาษกราฟ กับ ดินสอธรรมดาๆ (ไม่มีคอมพิวเตอร์ช่วยเลย) คำว่าเครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ ยังหมายความถึง เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ (self-replicating machine)
นอยมันน์ได้พิสูจน์ว่า การใช้เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด ในการทำเหมืองขนาดใหญ่มากๆ อย่างการทำเหมืองบนดวงจันทร์ หรือ แถบดาวเคราะห์น้อย เนื่องจากกลไกแบบนี้จะมีการเติบโตเป็นแบบเลขชี้กำลัง
คลิ๊กแหล่งที่มา
นอยมันน์เป็นคนคิด สถาปัตยกรรมแบบ ฟอน นอยมันน์ ซึ่งใช้กันในคอมพิวเตอร์ (แบบที่ไม่ได้ประมวลผลแบบขนาน) ส่วนใหญ่ พูดได้ว่า คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดในโลกนี้ เป็นเครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ เขาเป็นผู้ริเริ่มสาขา cellular automata และได้สร้างตัวอย่างชุดแรกของ self-replicating automata โดยใช้แค่กระดาษกราฟ กับ ดินสอธรรมดาๆ (ไม่มีคอมพิวเตอร์ช่วยเลย) คำว่าเครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ ยังหมายความถึง เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ (self-replicating machine)
นอยมันน์ได้พิสูจน์ว่า การใช้เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด ในการทำเหมืองขนาดใหญ่มากๆ อย่างการทำเหมืองบนดวงจันทร์ หรือ แถบดาวเคราะห์น้อย เนื่องจากกลไกแบบนี้จะมีการเติบโตเป็นแบบเลขชี้กำลัง
คลิ๊กแหล่งที่มา
ผลงาน
ดร. เท็ด ฮอฟฟ์ (Ted Hoff) แห่งบริษัทอินเทล (Intel Corporation) ได้พัฒนาชิพที่มีขนาดเล็กมาก จึงได้ชื่อว่าไมโครโพรเซสเซอร์ ชื่อรุ่นคือ Intel 4004 เป็นหน่วยประมวลผลขนาดเล็กที่สามารถโปรแกรมได้ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิพขนาดเล็กนี้เจึงถูกรียกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย
รางวัลที่ได้รับ1988 ได้รับรางวัลผู้บุกเบิกสังคมอีอีอีพีซี
1996 แต่งตั้งให้เข้านักประดิษฐ์แห่งชาติฮอลล์ออฟเฟม
1997 จอร์จอารางวัล Stibitz
จวร์ต Ballantine เหรียญจากสถาบันแฟรงคลิน
ที่ได้รับรางวัล Cledo Brunetti IEEE และร้อยเหรียญได้รับ Rensselaer Polytechnic สถาบันเดวีส์เหรียญ
เพื่อนของอีอีอี
คลิ๊กแหล่งที่มา
11.Steve Job & Steve Wazniak
ประวัติ
สตีเวน พอล จอบส์ (Steve Jobs) เกิดวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955 เกิดที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เป็นบุตรบุญธรรมของนายพอล และนางคลารา จอบส์ส่วนบิดา มารดาที่แท้จริงของจอบส์ คือ บิดา อับดุลฟัตตะห์ จันดาลี มารดา โจแอน ซิมป์สัน สตีฟ จอบส์ เข้าพิธีสมรส กับ ลอเรนซ์ โพเวลล์ เมื่อวัน18 มีนาคม ค.ศ. 1991 และมีบุตรด้วยกันสามคน สตีฟ จอบส์ ยังมีลูกสาวหนึ่งคน ชื่อลิซา จอบส์
ประวัติ
สตีเฟน แกรี่ วอซเนียก หรือ สตีฟ วอซเนียก (Steve Wozniak) บ้างก็เรียก สตีฟ โวสนิแอก ชื่อเล่นว่า "Woz"(วอซ) วันเกิด วันที่11 สิงหาคม พ.ศ. 2493 ในแซนโฮเซ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลสำคัญในบริษัทแอปเปิล บริษัทคอมพิวเตอร์ เขาเป็นวิศวกรคอมพิวเตอร์ ผู้ก่อตั้งร่วมกันของแอปเปิลคอมพิวเตอร์ และเป็นผู้สร้างคอมพิวเตอร์ Apple I และ Apple II
ผลงาน
Steve Job & Steve Wazniak ปี ค.ศ.1986 ได้สร้างแอปเปิลคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องแรก ภายใต้ชื่อว่า Apple II และได้รับการตอบรับถึงความสำเร็จอย่างรวดเร็วทั่วโลก
คลิ๊กแหล่งที่มา
12. Bill Gates
ประวัติและผลงาาน
ลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สาม (เกิด 28 ตุลาคม ค.ศ. 1955หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อ บิล เกตส์ เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกันและหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ เขากับผู้บุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล คนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียนต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิกซึ่งเป็นอินเตอร์เพรเตอร์
ในปี ค.ศ. 1994บิล เกตส์ได้ม้วนกระดาษไลเชสเตอร์ ซึ่งรวบรวมงานเขียนของเลโอนาร์โด ดา วินชีมาไว้ในครอบครอง และในปี ค.ศ. 2003ได้นำม้วนกระดาษนี้ออกแสดงที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งเมืองซีแอทเทิล
คลิ๊กแหล่งที่มา
ดร. เท็ด ฮอฟฟ์ (Ted Hoff) แห่งบริษัทอินเทล (Intel Corporation) ได้พัฒนาชิพที่มีขนาดเล็กมาก จึงได้ชื่อว่าไมโครโพรเซสเซอร์ ชื่อรุ่นคือ Intel 4004 เป็นหน่วยประมวลผลขนาดเล็กที่สามารถโปรแกรมได้ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิพขนาดเล็กนี้เจึงถูกรียกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย
รางวัลที่ได้รับ1988 ได้รับรางวัลผู้บุกเบิกสังคมอีอีอีพีซี
1996 แต่งตั้งให้เข้านักประดิษฐ์แห่งชาติฮอลล์ออฟเฟม
1997 จอร์จอารางวัล Stibitz
จวร์ต Ballantine เหรียญจากสถาบันแฟรงคลิน
ที่ได้รับรางวัล Cledo Brunetti IEEE และร้อยเหรียญได้รับ Rensselaer Polytechnic สถาบันเดวีส์เหรียญ
เพื่อนของอีอีอี
คลิ๊กแหล่งที่มา
11.Steve Job & Steve Wazniak
![]() |
รูปภาพ Steve Jobs & Steve Wazniak |
สตีเวน พอล จอบส์ (Steve Jobs) เกิดวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955 เกิดที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เป็นบุตรบุญธรรมของนายพอล และนางคลารา จอบส์ส่วนบิดา มารดาที่แท้จริงของจอบส์ คือ บิดา อับดุลฟัตตะห์ จันดาลี มารดา โจแอน ซิมป์สัน สตีฟ จอบส์ เข้าพิธีสมรส กับ ลอเรนซ์ โพเวลล์ เมื่อวัน18 มีนาคม ค.ศ. 1991 และมีบุตรด้วยกันสามคน สตีฟ จอบส์ ยังมีลูกสาวหนึ่งคน ชื่อลิซา จอบส์
![]() |
รูปภาพสตีฟ วอซเนียก |
สตีเฟน แกรี่ วอซเนียก หรือ สตีฟ วอซเนียก (Steve Wozniak) บ้างก็เรียก สตีฟ โวสนิแอก ชื่อเล่นว่า "Woz"(วอซ) วันเกิด วันที่11 สิงหาคม พ.ศ. 2493 ในแซนโฮเซ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลสำคัญในบริษัทแอปเปิล บริษัทคอมพิวเตอร์ เขาเป็นวิศวกรคอมพิวเตอร์ ผู้ก่อตั้งร่วมกันของแอปเปิลคอมพิวเตอร์ และเป็นผู้สร้างคอมพิวเตอร์ Apple I และ Apple II
ผลงาน
Steve Job & Steve Wazniak ปี ค.ศ.1986 ได้สร้างแอปเปิลคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องแรก ภายใต้ชื่อว่า Apple II และได้รับการตอบรับถึงความสำเร็จอย่างรวดเร็วทั่วโลก
คลิ๊กแหล่งที่มา
12. Bill Gates
![]() |
รูปภาพลเลียม เฮนรี เกตส์ |
ลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สาม (เกิด 28 ตุลาคม ค.ศ. 1955หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อ บิล เกตส์ เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกันและหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ เขากับผู้บุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล คนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียนต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิกซึ่งเป็นอินเตอร์เพรเตอร์
ในปี ค.ศ. 1994บิล เกตส์ได้ม้วนกระดาษไลเชสเตอร์ ซึ่งรวบรวมงานเขียนของเลโอนาร์โด ดา วินชีมาไว้ในครอบครอง และในปี ค.ศ. 2003ได้นำม้วนกระดาษนี้ออกแสดงที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งเมืองซีแอทเทิล
คลิ๊กแหล่งที่มา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)